ปัญหา EHP

หมวดหมู่: บทความ
 
 
EHP
 
 
ENTEROCYTOZOON HEPATOPENAEI

 

โปรโตซัว ไมโครสปอริเดียน จัดอยู่ในกลุ่มเชื้อรา ขนาด 0.7-1 ไมครอนสามารถตรวจสอบเบื้องต้นได้ผ่านกล้องจุลทรรศน์กำลังขยาย 1,000 เท่าผนังสปอร์หนา ทนทานต่อสภาพแวดล้อมและการทำลาย และอวัยวะเป้าหมายคือ ตับ/ตับอ่อนของกุ้ง

images
images

 

 

สาเหตุที่ทำให้เชื้อ EHP รุนแรง

กุ้งที่ติดเชื้อ EHP ตั้งแต่ระยะวัยอ่อนหรือกุ้งมีอายุน้อยกว่า 1 เดือน หลังปล่อยลงเลี้ยงในบ่อดิน มีโอกาสที่เชื้อจะเพิ่มมากขึ้น ส่งผลทำให้กุ้งอ่อนแอ ง่ายต่อการติดเชื้อ เและระดับภูมิคุ้มกันของกุ้งลดลง .ทำให้ปริมาณเชื้อในตับเพิ่มสูงขึ้น จนส่งผลต่อระบบการทำงานของตับ กุ้งจึงโตช้า ติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่าย

 
 
 
 
 
 
การป้องกัน

 

  • คัดเลือกสายพันธุ์กุ้งที่แข็งแรงและปลอดเชื้อก่อโรค
  • ตรวจการติดเชื้อเบื้องต้นอย่างสม่ำเสมอ
  • บำรุงสุขภาพกุ้งให้แข็งแรงอยู่เสมอ
  • ฆ่า/ทำลายเชื้อด้วยสารเคมี
  • เสริมภูมิคุ้มกันกุ้งด้วยผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
  • งดการใช้ยาปฏิชีวนะ เพราะทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง

 

images

06 ธันวาคม 2565

ผู้ชม 1560 ครั้ง

Engine by shopup.com